ข้อมูล Encephalartos arenarius

Encephalartos arenarius blue form

 

ข้อมูล Encephalartos arenarius (ได้แปลมาจากหนังสือ South Africa)

Robert Allen Dyer อธิบายสายพันธุ์นี้ในปี ค.ศ.1956 เจ้าของชื่อได้อ้างถึงลักษณะดินที่ทำให้ดินมีเสถียรภาพที่มั่นคงบนเนินทรายซึ่งสายพันธุ์นี้พบในป่าธรรมชาติ

Habitat : สายพันธุ์นี้จำกัดในตำบล Alexandria ใน the Eastern Cape ที่ซึ่งมันจะพบเป็นสวนใหญ่พบระหว่างกลุ่มที่อยู่ใกล้ติดฝั่งทะเลฝนที่ตกจะมีปริมาณ 725-875 มิลลิเมตรต่อฤดูร้อน ผลของแรงกดดันจำนวนมากโดยนักสะสมต้นปรงแอฟริกาใต้เป็นที่นิยมมาก  ทำให้สายพันธุ์นี้ถูกคำนึงถึงว่าใกล้เกิดการสูญพันธุ์เกิดขึ้นในอนาคต

Cultivation : ความสัมพันธ์ที่จะทำให้ต้นไม้สายพันธุ์นี้โตเร็วที่สุดคือชอบการอยู่ในที่ๆมีร่มเงาและดินมีความลึกเป็นประเภทดินทราย ภายใต้สภาวะการเติบโตที่เหมาะสม มันสามารถแตกใบขึ้นมาจากหัว(caudex)หรือ(stem) ได้ถึง 3 รอบต่อปีและมันสามารถทนต่ออากาศหนาวเย็นได้เป็นอย่างดี เมื่อสภาวะเหมาะสมจะสามารถขยายพันธุ์ได้จากเมล็ด(seeds)และการแตกหน่อ(sucker)

Stem(ลำต้น) : จะตั้งขึ้นไปในอากาศ ไม่มีกิ่งก้านสาขาและตั้งตรงแม้ว่าเมื่อยาวขึ้นจะน้ำหนักมากขึ้นจะสามารถกลับมาเป็นนอนเลื้อยที่พื้นขึ้นได้ ลำต้นสามารถที่จะยาวได้ถึง 3 เมตรและมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 200-300 มิลลิเมตร แต่มักจะผลิตออกมาเป็นหน่อ  ปลายยอดลำต้นจะมีสีน้ำตาลอ่อน( light brown) เหมือน “wool(ผ้าขนสัตว์)” ซึ่งจะเกาะอยู่จำนวนมากมายโดยเฉพาะช่วงที่จะเริ่มแตกใบใหม่ ที่ปลายยอดจะมี cataphylls ทำให้ไม่สามารถเห็นได้ชัดเจนและส่วนหลักที่เป็นลำต้นจะถูกปกคลุมด้วยใบที่ส่วนล่าง(basal leaflets) เป็นส่วนใหญ่

Leaves(ใบทั้งหมด)

ใบโดยทั่วไปจะมีสีเขียวแก่มัน(dull dark green)ที่หน้าใบแม้ว่านักพฤษศาสคร์บางคนอาจจะพบว่ามีสีน้ำเงินอมเขียวออกสีเงิน(silver blue-green)เกิดขึ้นที่บนผิวหน้าใบได้ ที่หลังใบสีจะเป็นสีเขียวที่อ่อนกว่า(slightly paler green) ก้านใบจะมีลักษณะตรงแต่ที่ปลายใบจะมีการโค้งลง(Curving strongly downwards) ใบทั้งหมดนี้จะไม่มีขน ก้านใบยาว 1.0-1.5 เมตร

ค่า pp-angle 40°-120°ที่ปลายใบ(the leaf apex) และเพิ่มเป็น 120°-180°ที่ใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole (the base of the leaf blade)

ค่า pr-angle 80°-90° ตลอดทั้งความยาวของขอบใบ

ค่า s-angle จะมีค่าราวๆ +10° ที่ปลายใบ(the leaf apex) แต่จะมีค่า -20° ถึง -40° ส่วนที่เหลือของฐานของขอบใบ(the remainder of the leaf blade)

การทับซ้อนของใบอาจจะมีการทับแบบล่างทับบนแต่ว่าการทับซ้อนอาจจะไม่เกิดขึ้นในส่วนบางส่วนของใบ

Petiole : มีความยาว 100-200 มิลลิเมตร ในส่วนล่างจะมีสีน้ำตาลอ่อนที่ Collar

median leaflets : มีความยาว 120-160 มิลลิเมตร ความกว้าง 25-40 มิลลิเมตร ลักษณะใบเหมือนหนัง(leathery และปราศจากปุ่ม) ผิวใบจะมีความเว้าโค้งในแนวขวางเล็กน้อยและจะเว้านูนในแนวยาว และขอบใบอาจจะมีการโค้งจะเป็นการโค้งลงทางด้านล่าง หนามขอบใบบนส่วนใหญ่จะไม่มีหรือบางครั้งอาจจะมีหนามแหลมที่เรียกว่าฟัน( pungment teeth)ขณะที่ขอบหนามด้านล่างจะมี 2-4 pungent Lobes ซึ่งบางครั้งจะมีการ slightly twisted ปลายใบจะเป็นหนามแหลม

Basal leaflets : จะลดขนาดลงลงฐานบางครั้งมีแค่ 1 spines หรือมากกว่า

Cones : จะพบว่าจะปรากฎในเดือน ธันวาคม-มกราคม และ จะเกิดขึ้น 1 Conesเท่านั้นของสายพันธุ์นี้ต่อฤดูกาลต่อต้นในทั้ง male conesและ female cones

Male cones : จะเป็นสีเขียว ความยาว 100-150 มิลลิเมตร 1 conesจะมีน้ำหนัก 0.7-2.1 กิโลกรัม และมี 290-370 sporophylls  Pollen shedding จะเกิดขึ้นในเดือน มีนาคม-พฤษภาคม

Female cones : จะเป็นสีน้ำเงินอมเขียว 500-700 มิิลลิเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 250-300 มิลลิเมตร และ Peduncleซึ่งจะมีความยาว 80-120 มิลลิเมตร สายพันธุ์นี้เป็นหนึ่งในสายพันธุ์ของแอฟริกาใต้ที่เหลืออยู่ไม่มาก ซึ่ง Peducleของ Female cones จะมีบางส่วนที่สามารถมองเห็นได้ น้ำหนักมวลของ Cones จะหนักได้ถึง 22 กิโลกรัม และมันสามารถมี 330 sporophylls ด้วยค่า the sterile apical หนึ่งจะมีประมาณ 9%ของ sporophyllsทั้งหมด  The cones disintergrate spontaneously อยู่ระหว่างช่วงเดือน ตุลาคม-มกราคม มีค่าได้ถึง 510 omnulesของแต่ล่ะ cone

Seeds : จะมีสีแดงสว่างและมีความยาว 45-55 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 20-28 มิลลิเมตร the sarcotesta index จะประมาณ 36% และ the sarcotesta จะกลับมาเป็น mucilaginous on ripening

Seed kernals : ความยาว 31-37 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 21-25 มิลลิเมตร

Notes : พื้นที่ๆกระจายตัวของสายพันธุ์นี้อาจจะมีการทับซ้อนเกี่ยวข้องเป็นพิเศษ ที่ว่านี้จะมีการทับซ้อนของพื้นที่สายพันธุ์ E.altensteinii และ E.horridus รูปแบบที่ไม่ธรรมดาจะเกิดขึ้นและพบว่าจะเกิดในแบบกลุ่มพื้นที่ โดยหนึ่งในนั้นจะเกิดขึ้นที่ใกล้ Peterson ความเป็นไปได้ที่ลูกหลานของพืชสายพันธุ์นี้จะไปเกิดไกล โดยผลของจุดเริ่มต้นในการไปไกลทำให้เกิดการแปรเปลี่ยนเป็นลูกผสม(Hybridisation) ของสายพันธุ์นี้ ในบางพื้นที่จะพบรูปแบบ(forms) มีใบสีน้ำเงินอมเขียวซึ่งมีอยู่ อย่างไรก็ตามมันหายากมากๆเลยทีเดียว

Encephalartos arenarius สามารถบอกความเห็นแตกต่างจากสัมพันธ์ที่แน่นอนกับ Encephalartos latifrons  ตั้งแต่ผิวหน้าใบ ซึ่ง E.arenarius จะมีความเรียบและสีเขียวเข้ม(dull green)และมีหนามแบบ lobs แต่ไม่มีการบิด ส่วนทาง E.latifrons ด้านหน้าใบจะมีสีเขียวสว่าง(glossy green) และเมื่อจับจะมีความสากที่ปลายนิ้ว ที่ปลายใบของ E.arenarius จะมีการปกคลุมบนก้านและมีค่า s-angleเล็กน้อย ลองไปอ่านดูใน Encephalartos latifrons

รูปแบบใบของ blue-green form ของ E.arenarius บางทีอาจจะไปสับสนกับ Encephalartos trispinosusได้  Conesเป็นสิ่งที่จำเป็นในการบ่งบอกสำหรับความแตกต่างชัดเจนระหว่างตัวอย่างที่กล่าวมา

 

 

 

Encephalartos arenarius blue form
Encephalartos arenarius green form
New leaf of Encephalartos arenarius blue form
© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress