ข้อมูล Encephalartos Latifrons
ข้อมูลควรรู้เกี่ยวกับต้น Encephalartos Latifrons (แปลมาจากหนังสือที่มาจาก South Africa)
ขอให้ผู้อ่านทุกท่านประสบความสำเร็จในการเลี้ยง แปลผิดพลาดยังไงขออภัยใน ณ.ที่นี้ ขอบคุณผู้เขียนหนังสือหลายๆเล่มของ Cycadsที่ South africa
J.G.C. Lehmann เป็นคนอธิบายสายพันธุ์นี้ในปี ค.ศ.1837 เจ้าของสายพันธุ์ชื่อนี้ได้อธิบายว่าเป็นใบขนาดกลางของสายพันธุ์ Encephalartos ทั้งหมด และมาจากภาษาลาตินที่ว่า latus แปล wide และ frons แปลว่า leaf ทำให้ ชื่อของ “latifrons” หมายถึง “broad leaves” และเป็นความเหมาะสมของ E. latifrons มีความเป็น the broadest leaves ในสายพันธุ์ ยกเว้นบางรูปแบบฟอร์มที่จะมีลักษณะคล้าย E. ferox.
ถิ่นกำเนิด(Habitat) :
สายพันธุ์นี้เป็นสายพันธุ์ที่หายากมากๆในตำบล the Albany และ Bathurst of the Eastern Cape มันเกิดขึ้นจากพื้นที่กว้างๆที่เต็มไปด้วยเศษหินจำนวนมากในพื้นที่ที่มีแต่หินหรือในทุ่งหญ้า พื้นที่หินที่ยื่นออกไปหรือหน้าผาหินบนภูเขา และปรากฎชัดว่าไม่ได้มีจำนวนเยอะแล้ว ปริมาณฝนตกต่อปีในพื้นที่ 600 มิลลิเมตร บางตำราบอกว่าประมาณ 1000-1250 มิลลิเมตร และส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในช่วงหน้าร้อน หน้าร้อนจะมีอากาศร้อนจะเป็นแบบร้อนแห้ง โดยช่วงอากาศเย็นมักจะไม่ถึงขั้นมีน้ำแข็งเกาะใบ มีนักสะสมจำนวนมากต้องการหาสายพันธุ์นี้ โดยสายพันธุ์นี้เป็นหนึ่งในสายพันธุ์ที่จะมีการสูญพันธุ์เกิดขึ้นใน South africa อย่างมาก จำนวนในป่าที่เหลือได้ถูกกระจัดกระจายเป็นบริเวณกว้างไปในหลายทิศทาง เป็นไปได้ว่าการผสมเกสรในธรรมชาติจะเป็นไปไม่ได้และหลังจากนั้นเมล็ดที่จะเกิดขึ้นมาจะหมดไป
E. latifrons มีชื่อเสียงมากว่ามีการเติบโตที่ช้ามากๆ Professor Charles Joseph Chamberlain มีข้อสรุปหลังจากไปที่ Trappes Valley ใกล้ Grahamstown ในปี 1912 (Chamberlain, C.J. “The Living Cycads”). เขาได้พูดว่า “a pleasant, gray-haired lady” บ้านของเธอเองมี 2 ต้นที่เป็น E. latifrons และ มี 3 ต้นที่เป็น E. altensteinii เติบโตในสวนของเธอ เมื่อเธอกลับบ้านมาตอนเธอแต่งงานอายุ 46 ปี ก่อน และเธอได้กลับไปดูสายพันธุ์ E. altensteinii พบว่าสามารถเจริญเติบโตได้ถึง 25cm (“a foot”) ระหว่างนั้น ส่วน E. latifrons คิดว่าไม่เจริญเติบโตขึ้นมาเลย พวกมันจะมีใบใหม่เป็นสีเขียว เมื่อผ่านไปอีกหลายปี 2ปีหรือมากกว่านั้น โดยถ้าผ่านมาก็จะมีลักษณะรูปแบบใบเหมือนเดิมเพราะว่าโตช้ามากๆ
การเพาะปลูก(Cultivation)
นักสะสมเป็นจำนวนไม่มากที่จะพบ Encephalartos latifrons ที่พบว่ามันเจริญเติบโตดีในการปลูกแบบไหน เป็นที่กระจ่างซึ่งพบว่าพืชสายพันธุ์นี้สุขภาพจะดีเมื่ออยู่ในนักสะสมที่เลี้ยงเก่งที่ Kirstenbosch Botanic Garden ในเมือง Cape Town ที่ซึ่งได้ก่อตั้งมานานกว่า 70 ปี พืชสายพันธุ์นี้ต้องการความโปร่งในการระบายน้ำ อย่างไรก็ดีมันก็ต้องการความชื้นที่เพียงพอเพื่อที่จะปกป้องและป้องกันน้ำแข็งที่เกิดขึ้นได้ Encephalartos latifrons เป็นพืชที่โตช้ามากๆด้วยช่วงเวลาระหว่างใบที่จะแตกออกมาใน 1 ครั้งใช้เวลาประมาณ 3 ปี Coneที่เกิดขึ้นมักจะไม่ค่อยเกิดถี่ๆ พืชพันธุ์นี้เมื่อโตเต็มที่สามารถรับแสงได้แบบ Full sunlight หรือ light shade และแสงที่ได้จากช่วงที่เป็นน้ำแข็ง สายพันธุ์นี้ขยายพันธุ์ทางเมล็ดและทางแยกหน่อ
ลำต้น (Stem)
ลำต้นตั้งตรงขึ้นไปในอากาศ และตั้งตรงแต่ลำต้นจะผลิตหน่อออกมา สามารถสูงได้ถึง 3 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 350 mm. และไม่เคยเห็นชนิดนี้โตในแนวขนานกับพื้น ลำต้นมีข้อยกเว้นที่สำคัญคือลำต้นจะหนัก ด้วยความหนาแน่นที่ว่าจะมากกว่าน้ำ และปลายยอดจะถูกปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาล ที่ cataphyllsจำนวนมาก ซึ่งจะมีขนจำนวนมากก่อนที่จะเกิดใบใหม่ขึ้นมาหรือมี Conesเกิดขึ้นมา
ใบย่อยทั้งหมด(Leaves)
ใบเป็นสีเขียวเข้มบนหน้าใบและเป็นสีเขียวอ่อนกว่าที่หลังใบ
ที่ก้านใบจะมีลักษณะโค้งชี้ลงที่ปลาย(downwards)
ที่พิเศษกว่านั้นที่ใกล้ๆยอดใบจะมีลักษณะ เป็นเหมือน “skirt” ที่ปกคลุมอยู่ยอดลำต้นหลังจากใบที่เก่าและแห้งลง
เป็นหนึ่งใน ใบที่มีขนทั้งหน้าเยอะมาก ถึงแม้จะถ่ายรูปเราจะเห็นว่าใบจะด้านๆถ้าถ่ายรูปแล้วเห็นว่าใบเงามันน่าจะเป็นลูกผสม ส่วนหลังใบจะมีขนบ้างแต่ไม่เยอะ
ก้านใบยาว 1.0-1.5 m.
มีค่า pp-angle 20°-30° ที่ปลายใบ ซึ่งจะเพิ่มเป็น 170°-180°ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole
มีค่า pr-angle 70°-90° ผ่านทางความยาวของขอบใบ
มีค่า s-angle +80°ถึง +90° ผ่านทางความยาวปลายใบ และได้มีการเปลี่ยนเป็นค่าประมาณ 0° ถึง +10° ที่ blade’s base ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole
ใบย่อยจะมีจำนวนมากและมีการทับซ้อนที่ลึกมากและใบล่างเกยทับใบบน ความพิเศษในการทับซ้อนอาจจะถึงครึ่งใบเลยทีเดียว
Petiole : ความยาว 160-180 มิลลิเมตร และจะกลายเป็นสีเหลืองตามเวลา ที่เห็นได้ชัดเจนคือ ใบที่อยู่ใกล้ๆฐานจะมี Collar สีน้ำตาลอ่อน
Median leaflets: ความยาว 100-150 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 40-60 มิลลิเมตร และเริ่มต้นจากที่ชั้นบนของผิวใบจะมีขนละเอียด ที่ผิวบนของใบเมื่อแข็งเต็มที่แล้ว เมื่อสัมผัสจะพบว่าจะมีลักษณะหยาบๆตามที่สัมผัส และด้านหลังใบจะมีเส้นบางๆขึ้นมาที่หลังใบ ใบย่อยจะดูหนาและไม่มีปุ่มเกิดขึ้น ด้านบนใบจะมีการห่อขึ้นเล็กน้อยในแนวขวางแต่ว่าบางครั้งอาจจะห่อขึ้นมาได้มากในบางครั้ง ในทางแนวยาวของขอบใบย่อย จะเกิด strong downwards และ inwards ในทางแนวยาวของใบย่อยจะตรงหรือจะมีใบจะห่อขึ้นได้เหมือนกัน ขอบใบบนของใบย่อยบางครั้งอาจจะมีหนามเล็กๆเกิดขึ้นได้(solitary pungment) ขณะที่ขอบใบล่างอาจจะมี 2-4 large triangular pungent lobes.The lobes มักจะมีการบิดอย่างมากที่แผ่นใบ
Basal leaflets : จะมีการลดขนาดสู่ใบที่ฐานปกติมักจะไม่มีหนามใหญ่(UnLobed)
Cones : ทั้งสองชนิดสามารถผลิตCones ได้ 1-3 Bluish green per season per stem. Conesจะไม่ปรากฎให้เห็นก้าน เพราะว่า Peducles ที่สังเกตุเห็นจาก cataphylls ของยอดลำต้น
Male cones : ยาว 300-500 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 80-170 มิลลิเมตร Pollen shedding จะเกิดในช่วง พฤษภาคม-สิงหาคม
Female cones : ยาว 500-600 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 200-250 มิลลิเมตร disintegrating spontaneously จะเกิดในช่วงมกราคม โดยจะมี 275-790 omnules
Seeds :จะมีสีแดงเข้ม ความยาว 48-50 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 22-25 มิลลิเมตร sarcotesta index of about 44%
Seed kernals : ความยาว 27-33 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-24 มิลลิเมตร
Notes
คนมักสับสนระหว่าง Encephalartos Latifrons กับ Encephalartos Arenarius แต่ว่าเมื่อพืชโตเต็มที่แล้วสามารถวัดชี้ได้หลายๆอย่างที่ใบ ผิวใบด้านบนของ Encephalartos latifrons ที่ด้านบนมีขนมากมายถ้าจับแล้วใบจะสากๆไม่ลื่น ด้านหลังใบมีขนน้อยกว่า ด้านหลังใบจะมีเส้นในแนวยาว ขณะที่ทั้งหน้าใบและหลังใบของ Encephalartos Arenarius จะเรียบและปราศจากเส้นที่เกิดขึ้นที่หลังใบ Encephalartos Latifrons เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วจะพบว่าจำนวนใบเกิดขึ้นมากมาย โดยเฉพาะที่ปลายใบและสีเขียวที่สว่างสดใสที่หน้าใบ ขณะที่ใบEncephalartos Arenarius จะเป็นสีเขียวแก่เข้มมากบางครั้งเป็นสีเขียวอมฟ้าเลย ด้านหลังใบจะไม่เกิดเส้นในแนวยาว ด้านบนใบจะเรียบลื่น กว้างไม่ห่อ
- E. latifrons จะเกิดในตำบล the inland Albany and Bathurst และมันจะกระจายตัวในพื้นที่บริเวณที่ไม่ทับซ้อนกับสายพันธุ์ E. arenarius, ซึ่งสายพันธุ์จะเกิดที่ coastal Alexandria districtเท่านั้น
- E. latifrons ลำต้นสามารถสูงขึ้นไปได้ถึง 3 เมตร ขณะที่ E. arenarius ลำต้นสามารถสูงได้เพียง 1 เมตร
- ใบย่อยทั้งหมดของ E. latifrons มีสี shiny dark-green ขณะที่ E. arenarius ทั้งหมดจะมีสี a duller-green or bluish-green
- รูปแบบใบย่อยของ E. latifrons form จะมีรูปแบบที่สำคัญเป็นพิเศษคือ the top third part of the leaf ใบย่อยทั้งหมดของ E. arenarius จะมีหนามเป็น lobed
- E. latifrons forms เกิดขึ้นได้ถึง 4 cones ขณะที่ E. arenarius จะมีแค่ single cones.
- The cones of E. latifrons มีสี olive-green or bluish-green ขณะที่ E. arenarius มีสี light green cones.
ธรรมชาติของลูกผสมระหว่าง Encephalartos latifrons และ Encephalartos altensteinii ได้มีการรายงาน แม้ว่าทั้งหมดนี้ดูเหมือนจะเป็นไปได้ยากมากๆ แต่บางทีก็เกิดขึ้นได้โดยลักษณะใบของการ Hybrids จะถูกทับซ้อนแบบ E. latifrons แต่อาจจะไม่มีการเกิด Lobesขึ้นที่ใบ สีของใบย่อยทั้งหมดที่แสดงออกมาจะมีสี the bright green ของ E.altensteinii เป็นหลัก