ข้อมูล Encephalartos lebomboensis

ข้อมูล Encephalartos lebomboensis (ได้แปลมาจากหนังสือ South africa)

Inez Clare Verdoorn อธิบายในสายพันธุ์นี้จากพืชสวน  ซึ่งเธอบอกว่านำมาจากพื้นที่ Lebombo mountains ใกล้ Stegi ( now Siteki ) ชื่อสายพันธุ์นี้อ้างจาก the Lebombo mountains โดย 2 รูปแบบของสายพันธุ์นี้ ได้ชื่ออย่างไม่เป็นทางการ ในชื่อ ” Pongola valley form” (ที่สวยกว่าจะอยู่ในชื่อ ” Piet Retief form” ) และ ” Mananga form ” ซึ่งแตกต่างกันเล็กน้อยเท่านั้น

ลำต้น(Stem) :

ลำต้นตั้งตรงขึ้นไปในอากาศไม่มีกิ่งก้านสาขาที่ลำต้น ในบางครั้งลำต้นจะโน้มเอียงและบางครั้งก็มีหน่ออยู่ข้างลำต้นด้วย ลำต้นสามารถยาวได้ถึง 4 เมตรและเส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 300 มิลลิเมตร จะมีการผสมระหว่างใบใหญ่และใบเล็กที่ฐานโซนล่างรอบๆลำต้น ที่ปลายยอดจะปกคลุมด้วย cataphyllsจำนวนมากรอบๆซึ่งจะมีขนสีน้ำตาลอยู่ชั้นภายนอกซึ่งจะเห็นเด่นชัดเมื่อตอนที่เกิด cones หรือเกิดใบใหม่ขึ้นมา

ใบ(Leaves):

จะมีสี Bright green บนผิวหน้าใบและสีสว่าง มากกว่านั้นที่ด้านหลังใบจะมีสี yellowish-green ก้านใบย่อยทั้งหมดจะมีขนเกิดขึ้นในทีแรกแต่หลังจากนั้นขนจะหลุดหายไป  ใบย่อยทั้งหมดจะตรงแต่บางครั้งอาจจะมีการโค้งลงที่ปลายยอด ก้านจะแข็งและมีความยาว 1-2 เมตรด้วย

ค่า pp-angle มีค่า 80°-150° ที่ปลายยอดของใบแต่จะเพิ่มไปถึง 130°-180° ที่ใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง Petiole

ค่า pr-angle มีค่า 15°-50° ที่ปลายยอดของใบแต่จะเพิ่มไปถึง 80°-100° ที่ใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง Petiole

ค่า s-angle มีค่า 0°-20° ที่ปลายยอดของใบและจะเพิ่มไปถึง -40° ถึง -60° ที่ใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง Petiole

ใบย่อยที่อยู่ในก้านใบจะไม่มีการทับซ้อนจากใบใดใบหนึ่งหรือจะมีการทับซ้อนที่ช่วงปลายใบแบบใบบนทับใบล่าง

Petiole : ความยาว 30-100 มิลลิเมตร

Median leaflets : 12-22 มิลลิเมตร ใบมีลักษณะคล้ายหนัง และมีปุ่มเล็กๆที่ใบ พืชสายพันธุ์นี้จะมีบางส่วนอยู่ในตำแหน่ง ใกล้ Paulpietersburtg และ Louwsburg  มีขอบใบที่ไม่มีหนาม แต่ทั่วไปทุกที่ที่มีจะพบว่าจะมีหนาม 1-4 หนามทั้งสองข้างของขอบใบ แม้ว่าโดบปกติจะอยู่ที่ขอบใบล่าง(Phylloproximal margin) ที่ผิวหน้าด้านบนจะมีการโค้งเว้าคล้ายตัว U ตามแนวทางขวาง แต่จะจะมีการโค้งนูนตามแนวตามยาว ขอบใบย่อยจะไม่หนาหรืิอเรียกว่าบางได้เลย ส่วนที่ปลายใบย่อยจะแหลม

Basal leaflets : ใบย่อยที่ก้านส่วนล่างจะมีการลดขนาดลงไปจนเกือบถึง caudex เป็นแบบ long series of spines (ลดรูปแบบขนาดใบลงไปเป็นแนวยาว)

Cones : Cones จะปรากฎในเดือนธันวาคม ในพื้นที่ส่วนใหญ่ Cones ทั้งสองเพศจะมีสีเหลือง แต่ว่าพืชสายพันธุ์นี้ที่ Paulpietersburg จะมี Cones ที่เป็นสีเขียว ขณะที่ Mananga จะมีสีแดงสว่าง Conesทั้งสองที่เกิดขึ้นนั้นจะปรากฎว่าติดกับปลายยอดเลย เพราะว่า peducles ทั้งหมดจะไม่สามารถเห็นโดยเกิดจาก the cataphylls ของปลายยอดลำต้นมาบัง

Male cones : จะเกิดขึ้น 1-3 Conesต่อฤดูต่อต้น จะมีความยาว 350-460 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง  110-130 มิลลิเมตร และpeducle มีความยาว 30-50 มิลลิเมตร A Cone มีน้ำหนักสดที่ 1.7 กิโลกรัม และมี 190 freshy sessile sporophylls และ Pollen shedding จะอยู่ในช่วง มีนาคม-พฤษภาคม

Female cones :จะมีแค่หนึ่ง หรือ เกิดขึ้น 2 จะยากมาก ต่อฤดูต่อต้น และพวกมันมีความยาว 320-440 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 170-220 มิลลิเมตรและ peduncle มีความยาว 20-25 มิลลิเมตร  A Cone มีน้ำหนักสดที่ 4.5 -7.1 กิโลกรัม และมี 135-220 Sporophylls ซึ่ง Apical Sterile หนึ่งจะถูกประกอบประมาณ 14.5%  Cones จะแตกไปเป็น Spontaneously ในเดือน กันยายนถึงเดือน พฤษจิกายน  มีค่า 200-655 omnules

Seeds : จะมีสี Bright red มีความยาว 35-39 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 24-26 มิลลิเมตร the sarcotesta index จะมีค่าประมาณ 32% และ the Sarcotesta จะกลายมาเป็น mucilaginous และเปิดออก

Seed kernals : 22-24  มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 18-20 มิลลิเมตร และมี 10-12 promiment longitudinal ridges

Habitat : สายพันธุ์นี้เกิดขึ้นใน 2 พื้นที่ที่แยกจากกัน ที่เรียกว่า ” Piet Retief ” Form เกิดขึ้นที่บริเวณเหนือพื้นที่ Pongola River และ พิเศษที่แคว The Pivaan River ระหว่าง Paulpiersburg และ Louwsberg ใน HwaZulu-Natal  ส่วน The ” Mananga form”  มันจะพบในพื้นที่ the Mananga area ใน Mpumalanga จนถึงสุดเขต The Mozambican และอีกทางด้านก็ติดกับทิศเหนือของประเทศ Swinziland  พืชสายพันธุ์นี้จะเติบโตในการเกาะที่หน้าผาและก้อนหินใหญ่ที่มีความลาดเอียงที่ทับกัน และบางครั้งก็เกิดในทุ่งหญ้า โดยสถานที่นั้นจะเต็มไปด้วยแดดที่เต็มวัน ซึ่งพื้นที่ตรงนั้นต้องฝนตกในหน้าร้อน สายพันธุ์นี้ได้ถูกพิจารณาและมีแรงกดดันจากนักสะสมจำนวนมาก แต่ว่าความเหมาะสมทำให้เกิดจำนวนมากขึ้นทั้งสองสถานที่ที่ว่านี้ได้ถูกปกป้องด้วยธรรมชาติ โดยธรรมชาติจะสำรองเมล็ดจำนวนมากที่รอการกลายเป็นต้นอ่อนในสถานที่แห่งนั้น

Cultivation : สายพันธุ์นี้มีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตที่เร็วและจะดีมากถ้าได้แสงแดดแบบ Full sun หรือ แสงแดดอ่อนๆ (ที่ South africa) มันสามารถทนต่อสภาวะอุณหภูมิแบบน้ำแ็งได้เล็กน้อยและไหลผ่านได้ดี ในสภาวะที่เหมาะสมจะขยายพันธุ์ทางเมล็ดหรือการแตกหน่อเกิดขึ้น Male Cones จะยืดเวลาออกไปเล็กน้อยระหว่างที่ the pollen shedding period และทำให้ pollen มีขนาดเล็ก The pollen ที่แตกต่างในขนาด เพราะว่าขนาดที่แตกต่างเป็นการคัดเลือกรูปแบบระหว่างกระบวนการที่เกิดขึ้น

Note : เมื่อ Verdoorn ได้อธิบาย Encephalartos lebomboensis  เธอสามารถทราบได้ถึงความแตกต่างของรูปแบบเกิดขึ้นในสามพื้นที่ ชื่อ the Mananga คือชื่อพื้นที่ Lebombo mountains จาก Stegi (ปัจจุบันชื่อ Siteki) ถึง Ingwavuma ในทางใต้ และที่ที่สามอยู่ทาง the upper catchment of the Pongola River  ในคำอธิบายของเธอ Verdoorn ได้ใช้พืชที่อยู่ในสวนใกล้ Siteki ดังเช่นรูปแบบที่นักพฤษศาสตร์ พืชสายพันธุ์นี้ถูกกล่าวว่าถ้าสายพันธุ์แท้ต้องมาจากที่อยู่ใกล้ veld โดย Vorster หลังจากนั้นได้ศึกษาพืชสายพันธุ์นี้ในป่าธรรมชาติและได้ตัดสินใจอธิบายหนึ่งในนั้นจาก Mananga และหุบเขา pongola ได้ค้นพบสายพันธุ์ใหม่ ขณะที่พืชสายพันธุ์ที่มาจากเทือกเขา Lebombo สามารถรู้จักในชื่อ Encephalartos lebomboensis ขณะที่เมื่อ Vorster ได้เป็นนักตรวจสอบรูปแบบของสายพันธุ์ Encephalartos lebomboensis เขาได้พบว่าพืชสายพันธุ์นี้ที่มาจาก  MANANGAและ the Pongola valley และไม่ใช่พืชที่มาจาก the Lebombo mountains เขาจึงตั้งชื่อว่า E.lebomboensis สำหรับ the Mananga และ Pongola valley plants และอธิบายถึงสายพันธุ์บนเทือกเขา Lebombo ซึ่งเป็นสายพันธุ์ใหม่ ในปี ค.ศ. 1995 เขาเคยได้ตั้งชื่อ E.senticosus และดังนั้น จึงทำให้เกิดความสับสนขึ้นได้

พืชสายพันธุ์นี้มาจาก Mananga มีความแตกต่างเล็กน้อยจาก Pongola valley  เหล่านั้น ก้านของใบย่อยของ  “mananga form” คล้ายกับ E.senticosus  ขณะที่ใบย่อยของ “Piet Retief form” เป็นฟอร์มพิเศษที่ตรงและก้านจะแข็งใบย่อยจะแคบๆ the microsporophylls ของ “Piet Retief form” จะมีการยื่นออกมาเล็กน้อยของที่ขอบปลายขณะที่ the microsporophylls ของ ” Mananga form” เหมือน pyramidally ที่มีลักษณะนูนออกมาเล็กน้อย

ลักษณะเด่นของสายพันธุ์นี้คือมันจะไม่มีขนที่ female cones ซึ่งเกือบทั้งหมดของภายนอกจะมีความเรียบที่ภายนอกและถูกกำหนดด้วยความจริงที่ว่า ด้านมุมมองของ the bullae จะมีขนเกิดขึ้นทั้งหมด ถ้ากรณีที่ที่ไม่มี cones มันจะแตกต่างกันอย่างไร โดยพิจารณาสายพันธุ์นี้จาก Encephalartos aemulans , Encephalartos msinganus , Encephalartos senticosus และ Encephalartos natalensis จากที่สรุปมาทุกอย่างสำหรับทั้ง 5 สายพันธุ์ ดูได้ใน Note อธิบายใน Encephalartos aemulans

 

 

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress