ข้อมูล Encephalartos Princeps

ข้อมูลควรรู้เกี่ยวกับต้น Encephalartos Princeps (แปลมาจากหนังสือที่มาจาก South Africa)

Encephalartos Princeps เป็นสายพันธุ์ที่แยกออกมาจาก Encephalartos Lehmannii ในปี 1965 โดย Robert Alley Dyer   ให้เกียรติผู้คนพบโดยมาจากภาษาลาตินมีความหมายว่า ” first”  และอาจเป็นไปได้ที่ถูกอ้างถึงความจริงที่ว่าทางวิทยาศาสตร์ก่อน ” E.Lehmannii และ E.Trisprinosusได้ถูกอธิบายและจะพบว่า Encephalartos Princeps สง่างามมากในธรรมชาติ โดยสีเริ่มต้นในการแตกใบเป็นสีเขียวฟ้าก่อน จนเปลี่ยนไปถึงสีฟ้าเทาเข้ม

Habitat: สายพันธุ์นี้จะมีเฉพาะถิ่น the catch area of the Great Kei River และโดยเฉพาะที่ the catch area ของแควน้ำ Tke Kubusi River และพื้นที่ทั้งหมดนี้อยู่ที่พื้นที่ Queenstown, Cathcart, Komga, Butterworth และ Tsomo อยู่ในถิ่น Eastern Cape  สายพันธุ์นี้เติบโตในทุ่งหญ้าและ riverine scub ระหว่างเกิดบนหินและเกาะตามหน้าผา doleritic มีปริมาณน้ำฝนตก 420-520 มิลลิเมตรและส่วนใหญ่มักจะเกิดในหน้าร้อน แม้ว่าจะพบในธรรมชาติจำนวนมากพอสมควรแต่หลังจากนี้จะหายไปเป็นจำนวนมากจากนักสะสมและถูกนำออกไปจากป่าจนถึงขั้นวิกฤตมากๆ

 

map from google

Cultivation : Encephalartos princeps เป็นสายพันธุ์ที่โตช้ามากๆแต่ว่าจะเติบโตได้ดีในแสงแดดแบบ fullsun ในดินที่มีลักษณะโปร่ง เมื่อโตเต็มที่แล้วจะสามารถทนต่อสภาวะน้ำแข็งที่มีจำนวนมากได้ สายพันธุ์นี้ขยายพันธุ์โดยการใช้เมล็ดหรือการแตกหน่อ การแตกหน่อของสายพันธุ์นี้จะมีลักษณะที่ยาวและแคบและจุดที่แตกหน่อสัมพันธ์กับความลึกที่ลงไปในดิน

ลำต้น(Stem) :

ลำต้นขึ้นไปในอากาศโดยไม่มีกิ่งก้านสาขาแต่บางครั้งลำต้นอาจจะมีการนอนในแนวนอนขนานไปกับพื้นและมีหน่อ(sucker)เกิดขึ้นมาด้วย มันสามารถสูงได้มากกว่า 5 เมตร ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 300-400 มิลลิเมตร

ใบย่อยทั้งหมด (Leaves) :

โดยสีเริ่มต้นในการแตกใบเป็นสีเขียวฟ้าก่อน จนเปลี่ยนไปถึงสีฟ้าเทาเข้มบนด้านหน้าใบและไม่ไวในการเปลี่ยนสีและแม้ว่าจะมีสีฟ้าอมเขียวเข้มบนหลังใบแล้วก็ตาม หลังจากที่ใบเริ่มเปลี่ยนสีบ้างแล้วและสีเขียวเข้มแต่ว่าสีที่ได้จะเหมือนกันทั้งสองด้าน  ใบจะมีลักษณะตรงแต่ว่าอาจจะมีการโค้งลง( downward) ที่บริเวณใกล้กับปลายใบแค่เล็กน้อย ก้านใบจะแข็ง มีความยาว 1.0-1.3 เมตร และใบจะไม่ลดขนาดลงมีการบันทึกถึงใบก่อนถึงการเกิดใบใหม่ขึ้นมาแต่ว่าใบนั้นจะเริ่มแห้งเหี่ยวลงเมื่อมี Conesเกิดขึ้นมาทำให้ก้านของใบเก่าเหลือที่เกิดจากการติดกับลำต้นสำหรับเวลายาวนานในช่วงที่ไม่เป็นระเบียบได้มีการจัดการ เพื่อรอการแตกใบใหม่

ค่า pp-angle มีค่า 20°-90°ที่ปลายใบ และเพิ่มไปถึง 120°-140°ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

ค่า pr-angle มีค่า 30°-45°ที่ปลายใบ และเพิ่มไปถึง 50°-60° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

ค่า s-angle มีค่า +80° ถึง +90°ที่ปลายใบ และลดไปถึง 0° ถึง +10° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

ใบย่อยจะมีการทับซ้อนของใบล่างทับใบบนในส่วนของปลายยอดของก้านอาจจะมีการทับซ้อนได้ถึงครึ่งใบได้

Petiole : มีความยาว 120-200 มิลลิเมตรด้วยฐานใบมีที่เห็นได้ชัดคือ collarมีสีเหลืองอมน้ำตาล

Median leaflets : มีความยาว 120-150 มิลลิเมตร ความกว้าง 10-13 มิลลิเมตร ใบจะมีลักษณะเหมือน leathery และจะต้องไม่มีปุ่มที่หน้าใบ โดยใบย่อยจะไม่มีหนามที่ขอบใบแต่ว่าบางทีอาจจะมีแค่หนามเล็กๆหนามเดียว คล้ายฟันเล็กๆบนขอบใบล่าง ขอบใบย่อยจะไม่หนาแฃละก็จะไม่บิด ด้านบนใบของใบย่อยจะมีการโค้งเว้าเล็กน้อยในทางขวางและทางความยาวจะตรง ที่ปลายใบจะมีหนามที่แหลม

Basal leaflets : จะลดขนาดลงที่โคนก้านใบอาจจะมี 1-2 spines เกิดขึ้นเป็นส่วนมาก

Cones : ทั้งสองเพศจะมี 1-3 cones ต่อ 1 ฤดูต่อ 1 ต้น โดยจะมีสี dull green  cones จะพบว่าจะปรากฎขึ้นในเดือน มกราคม

Male cones : ความยาว 200-360 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 80-115  มิลลิเมตร และแม้ว่าจะปรากฎบนยอดลำต้นติดกับยอดเลยก็ตาม(sessile)  สายพันธุ์นี้จะมี peduncle มีความยาว 115 มิลลิเมตร มีน้ำหนัก Cones สดอยู่ที่ 1.1 kg และมี 370-700 sporophylls มี pollen shedding จะเกิดในช่วงเดือน เมษายาจนถึงมิถุนายน

Female cones : ความยาว 300-400 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 200-250  มิลลิเมตร ทั้งหมดนี้แต่ล่ะ female cones น่าจะมี 300 sporophylls ของ the apical sterile จะมี 37%  The cones จะสามารถเกิด spontaneously ในช่วง ตุลาคมถึงธันวาคม ซึ่งจะเกิด 150-585 omnules

Seeds : จะมีสีแดง ความยาว 20-45 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 15-20 มิลลิเมตร the sarcoteata index จะประมาณ 40% และ the sarcotesta จะมาเป็น mucilaginous และ ripening

Seed kernels : ความยาว 12-30 มิลลิเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 13-16 มิลลิเมตร

Note :

ในประเทศไทย

ช่วงเดือน มกราคม-กุมภาพันธุ์ เป็นช่วงที่ Encephalartos Princeps แตกใบใหม่ ใบอ่อนใหม่มีตั้งแต่สีเขียวอ่อน สีเขียวเหลือบ สีเหลืองอมน้ำตาล

The cone ของ Encephalartos princeps จะแตกต่างจาก Encephalartos lehmannii ถ้าพิจารณาให้ดี แต่ the cone จะเหมือนกับ Encephalartos trisprinosus มากกว่า  แต่ว่าถ้าขาด the cone ซึ่งยังไม่ออกมาจะเกิดการสับสนขึ้นได้กับสองสายพันธุ์นี้ ก็คือEncephalartos princeps และ Encephalartos lehmannii แต่การชี้ชัดทั้งสามสายพันธุ์นี้จะอยู่ในหน้า Encephalartos lehmannii

 

 

 

 

 

 

 

 

 

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress