ข้อมูล Encephalartos aplanatus

ข้อมูล Encephalartos aplanatus (แปลมาจากหนังสือ South africa)

สายพันธุ์นี้มีมานานหลายปีแล้วอย่างไม่เป็นทางการแต่ได้รู้จักในนาม the Stegi (Siteki) formของ Encephalartos villosus จนกระทั่ง  Piet J. Vorster ยกระดับมันถึงเป็นชั้น species ในปี ค.ศ.1996 ในตำราอ้างถึงรูปแบบใบของสายพันธุ์นี้ซึ่งจะไม่เรียบในแนวขวางหรือแนวยาวและบางครั้งจะมีแว๊กที่ขอบ

Habitat : สายพันธุ์นี้ถูกจำกัดในพื้นที่เล็กๆ ในทาง northeastern Swaziland จนถึงขอบของ Mozambican  border มันจะเจริญเติบโตในพื้นที่ที่แดดอ่อนๆ เพราะว่าในประชากรในป่าจะเล็กและภายใต้การพิจารณาแรงกดดันจากนักสะสม สายพันธุ์นี้จะถูกจับตามองในการเสี่ยงสูงพันธุ์ที่สูงขึ้น

Cultivation : มันเจริญเติบโตได้อย่างเร็วมากถ้าสายพันธุ์นี้ในดินที่มีความลึกในหุบเขาและต้องมีเงื่อนไขว่าโดนแดดอ่อนๆผ่านมาโดนมันทั้งชีวิต สายพันธุ์นี้จะสามารถทนต่อความเย็นแบบเกล็ดน้ำแข็งอ่อนๆหรือเรียกว่า แม่คะนิ้ง ได้ เพราะว่ามันมีความยากในการผลิตหน่อ(sucker) มันจะเหมาะสมในการขยายพันธุ์เกือบจะพิเศษจากเมล็ดปราศจากปัญหาหลายๆอย่าง

Stem(ลำต้น) ถ้ายังไม่ขึ้นเป็นลำต้นเรียกว่า caudex

ลำต้นมักจะอยู่ใต้ดิน ตั้งตรงและยากมากที่จะผลิตหน่อออกมา

Leaves (ก้านใบย่อยทั้งหมด)

ใบจะมีสีเขียวเข้มมันเงาบนผิวบนและมีสีเขียวที่อ่อนกว่าบนหลังใบ สายพันธุ์นี้มักมีการแตกใบ 2-8 ก้านใบทั้งหมด ก้านใบย่อยสามารถยาวได้ถึง 3.5 เมตร และตรงยกเว้นแต่ถ้าโดนแดดเยอะเกินไปในตำแหน่งนั้นอาจจะมีการโค้งลงที่ปลายก้านใบอย่างงดงาม

the pp-angle จะมีค่าประมาณ 180° ที่ปลายก้านใบ และ มีค่า 180°-240° สำหรับส่วนที่เหลือของก้านใบ

the pr-angle จะมีค่าประมาณ 30°-45° ที่ปลายก้านใบ และ มีค่าเพิ่ม 80°-90°  สำหรับส่วนที่เหลือของก้านใบ

the s-angle จะมีค่าประมาณ -10° ถึง -30° ที่ปลายก้านใบ และ มีค่าเพิ่ม -45°ถึง -80°  สำหรับส่วนที่เหลือของก้านใบ ใบย่อยจะมีการทับซ้อนแบบใบบนทับใบล่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่ปลายใบ

petiole : จะมีความยาวได้ถึง 200 มิลลิเมตร

median leaflets : ขึ้นได้ถึง 300 มิลลิเมตร ความกว้าง 40 มิลลิเมตร และมีความอ่อนที่ใบ  ส่วนปุ่ม(Nodules) ที่หน้าใบจะไม่มี ที่ผิวหน้าใบย่อยจะมีลักษณะโค้งเว้าเป็นตัว U ในแนวขวาง และมีลักษณะโค้งนูนในแนวยาว ขอบใบย่อยจะไม่ค่อยหนาและบางทีเป็นคลื่นๆ หนามขอบใบบน(the phyllodistal leaflet margin)จะโค้งเหมือนธนูมากในใบที่ไปในทางลงด้านล่าง ขอบใบบางทีแม้ว่าบางครั้งจะไม่มีหนาม โดยปกติทั่วไปมักจะมีฟันที่เรียกว่า teeth ซึ่งจำนวนมากน้อยหรือขนาดสามารถพิจารณาได้ ที่ปลายใบย่อยบางครั้งอาจจะไม่แหลม

Basal leaflets : จะลดขนาดลงไปในรูปแบบลดขนาดใบลงไปเรื่อยๆลงไปทาง apex stem (long series of spines)

Cones : จะปรากฎในเดือนมกราคม

Male cones : เริ่มจากสีเขียวแต่ก็บ่อยครั้งจะกลายมาเป็นสีเหลืองในเวลาต่อมา จะไม่มีขน สามารถมีได้ 1-3 conesต่อฤดูกาลต่อต้น สามาราถมีขนาดยาวได้ถึง 650 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 80-100 มิลลิเมตร ด้วยระยะก้าน peducle สามารถยาวได้ 220 มิลลิเมตร  A cone มีน้ำหนักสดประมาณ 0.6 กิโลกรัม และมี 240 sporophylls.  Pollen shedding จะเกิดขึ้นระหว่างช่วงเดือน มีนาคม-พฤษภาคม

Female cones : มีสีเหลืองสว่างแต่ว่าบางครั้งมีสีเขียวเข้มเมื่อเริ่ม แต่จะมี 1-2 cones สามารถผลิตได้ต่อต้นในช่วง 1 ฤดูกาล ทั้งหมดนี้สามารถยาวได้ 520 มิลลิเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 135 มิลลิเมตร a peducle ซึ่งสามารถยาวได้ถึง 120 มิลลิเมตร  female cones สามารถมีได้ 160-180 sporophylls  ซึ่งจะมี the distal sterile หนึ่งประกอบด้วย 11% ของทั้งหมด  the cones สลายตัวเป็น spontaneously ระหว่างช่วงเดือน กันยายน-ตุลาคม มี 230-290 omules

Seeds : มีสีแดงสว่าง  ส่วนใหญ่จะมีความยาว 33-35 มิลลิเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 23-25 มิลลิเมตร the sarcotasta index จะมีค่า 21% และ the sarcotesta index จะกลับมาเป็น mucilaginous เมื่อสุกเต็มที่(on ripening)

Seed kernals : รูปแบบความยาวปกติ 25-29 มิลลิเมตร และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 10-16 มิลลิเมตร ด้วยสิ่งที่สังเกตุเด่นชัดมีสันตามแนวยาว

Note : เมื่อหลายๆปี สายพันธุ์นี้ได้พิจารณาถึงรูปแบบ very robust form ของ Encephalartos villosus และถูกอ้างอิงในชื่อ “Stegi (siteki) form” ของสายพันธุ์นี้ิ นักวิจัยบางท่านสามารถวิจัยที่ว่าสายพันธุ์นี้ไม่มีจุดเด่นของการแยกจากสายพันธุ์อื่นๆ แต่ว่าจะมีการจัดอยู่ในชั้นของ subspecies บาง formsของการจัดหมวดหมู่ของสายพันธุ์ E.villosus การจัดในความยากถึงการจำแนกความแตกต่างอย่างเฉียบขาดสำหรับ E.aplanatus  ความยาวของใบย่อยซึ่งการโค้งในทิศทางตรงกันข้ามตามแนวขวางและตามแนวยาว ความสัมพันธ์ระหว่างความยาว Petiole และสีเหลืองสว่างของ Cones เมื่อสมบูรณ์เต็มที่ในการจัดหมวดหมู่ของสายพันธุ์

ความคิดเห็นที่มีข้อมูลจาก entomologist Rolf oberprieler (1996) เขาได้สนใจที่ว่าเจ้าตัวด้วงที่ชื่ิอ Porthetes pearsonii ซึ่งอยู่ในธรรมชาติมีสายพันธุ์ที่หลากหลายที่จะมีส่วนเกี่ยวข้องกับ coneของ E.villosus  จนถึงป่านนี้ก็ยังไม่พบบน Cone ของ E.aplanatus ในธรรมชาติ เขาคิดว่า อย่างไรก็ตามไม่สามารถอธิบายเจ้าตัวด้วงซึ่งจะปรากฎว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดถึง Porthetes pearsonii และปริมาณที่เป็นปัญหาของสายพันธุ์ในการเกิดใหม่ของสายพันธุ์ จะพบว่าด้วงสายพันธุ์ใหม่ๆ ที่ไม่ใช่ Porthetes pearsonii จะไม่มีอยู่ใน E.villosus cones

 

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress