ข้อมูล Encephalartos dyerianus

ข้อมูลควรรู้เกี่ยวกับต้น Encephalartos  dyerianus (แปลมาจากหนังสือที่มาจาก South Africa)


Encephalartos Dyerianus 

Encephalartos dyerianus
Encephalartos dyerianus

สายพันธุ์นี้ได้ถูกอธิบายในปี ค.ศ. 1988 โดย John J.Lavranos และ Douglas L.Goode    และภายหลังไม่นาน  ในปี ค.ศ. 1988 เดียวกัน  P.J.(Hannes) Robbertse,Piet J.Vorster และ Suzelle van der Westhuizen ได้เรียกสายพันธุ์นี้ว่า” Encephalartos graniticolus ”  โดยในตำรา “Dyerianus” เป็นเกียรติแก่ Robert Allen Dyer ซึ่งได้อธิบายสายพันธุ์ปรง South Africa หลายสายพันธุ์และเป็นผู้นำใน The botanical Research Institute of South Africa for many years

Habitat :

สายพันธุ์นี้ถูกจำกัดแค่ 2 กลุ่มก้อนหินแกรนิตที่โตขึ้นมา ในพื้นที่ The eastern part of  Limpopo ค่อนไปทาง Kruger nation park โดยแยกเป็น 1. ใกล้กับเขต Mica 2. พื้นที่อื่นๆใกล้กับ Gravelotte พืชชนิดนี้จะเกิดขึ้นใน savannah ระหว่างก้อนหินใหญ่บนผิวดินที่เป็นทราย พื้นที่นี้จะมีประมาณ 700 เมตรเหนือระดับน้ำทะเลและรับปริมาณน้ำฝนได้ 400-500 มิลลิเมตร ซึ่งฝนจะตกเป็นหลักของปีในช่วงหน้าร้อน  สายพันธุ์นี้ไม่เคยถูกละเลย และถูกนำเสนอทำให้มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เป็นอย่างมากโดยนักสะสมได้มีความต้องการเป็นอย่างสูง ปัญหาเลวร้ายที่เกิดขึ้นโดยไม่มีเมล็ดที่เกิดจากการผสมซึ่งอธิบายเด่นชัดถึงการขาดของแมลงที่เหมาะสมในการนำเกสรไปผสม

Cultivation

สายพันธุ์นี้เติบโตอย่างช้าๆแต่สามารถแพร่พันธุ์ได้อย่างง่ายดายโดยมาจากเมล็ดและหน่อ มันเติบโตได้ดีเมื่อมันได้รับแสงเต็มวันและมันสามารถต้านทานได้จนถึงแบบน้ำแข็งเกาะที่ใบและลำต้น

ลำต้น(Stem) เป็นปรงที่มีขนาดกลางถึงใหญ่

ลำต้นจะตั้งขึ้นไปในอากาศและลำต้นเมื่อมันยาวขึ้นมันอาจจะโน้มเอียงที่จะกลับมาคลานอยู่บนดินบางครั้งอาจจะชูยอดขึ้น เมื่อลำต้นบางส่วนของลำต้นจะไม่มีกิ่งก้านสาขาโดยสายพันธุ์นี้ปกติจะมักจะเกิดหน่อ  ลำต้นสามารถยาวขึ้นไปได้มากกว่า 6 เมตรบนดินและเส้นผ่านศูนย์กลาง 400-600 มิลลิเมตร ลำต้นจะถูกปกป้องโดยผิวของรูปแบบของใบที่ฐานล่างจำนวนมาก

ก้านใบทั้งหมด(Leaves)

สายพันธุ์นี้เป็นหนึ่งใน The southern Africa cycad ทั้งหมด หนึ่งในสิ่งที่สำคัญในสายพันธุ์นี้คือความหนาแน่นของใบที่ชี้ขึ้นไปบนฟ้าและให้ร่มเงาข้างล่างของต้น ทั้งสองด้านของใบจะมีลักษณะคล้ายกันคือมีสี Pale bluish-green ก้านใบย่อยทั้งหมดจะไม่มีขน ก้านแข็ง เมื่อมองดูภายนอกจะเห็นว่าก้านใบล่างจะบิดโค้งอย่างแข็งๆสำหรับระยะทางสั้นๆที่เกิดขึ้นเหนือฐานใบล่างเท่านั้น   ส่วนข้างในจะเกิดการบิดโค้งอย่างอ่อนโยนระหว่างส่วนที่เหลือของความยาว ก้านใบทั้งหมดจะมีความยาว 1.25-1.7 เมตร

pp-angle จะเพิ่มจาก  60°-80° ที่ปลายยอดของก้านเพิ่มขึ้นเป็น 150°-180° ที่ฐานใบล่างของก้านใบ

pr-angle จะเพิ่มจาก  20°-30° ที่ปลายยอดของก้านเพิ่มขึ้นเป็น 70°-80° ที่ฐานใบล่างของก้านใบ

s-angle จะเพิ่มจาก  0° ถึง +15° ที่ปลายยอดของก้านเพิ่มขึ้นทีล่ะน้อยเป็น  +20° ถึง +30° ที่ฐานใบล่างของก้านใบ

Petiole จะไม่เกิดขึ้น แต่ว่าถ้ามีสามารถสูงได้ถึง 60 มิลลิเมตร

ใบย่อยจะเป็นแบบไม่มีใบไหนใบหนึ่งซ้อนซึ่งกันและกัน แต่ถ้ามองในองศาจะเป็นแบบใบล่างทับใบบนเล็กน้อยมากทั้งหมดเท่านั้น  basal collar จะเป็นสีน้ำตาล(brown) ซึ่งปกติอาจจะดูไม่สะดุดตาเพราะว่าเมื่อสายพันธุ์นี้มีขนาดใหญ่จะถูกปกคลุมด้วย cataphyllsของปลายยอดลำต้น

Median leaflets ยาว 170-240 มิลลิเมตร ความกว้าง 10-18 มิลลิเมตร ผิวใบเป็นแบบหนัง(leathery)และปราศจากปุ่มที่ผิวใบ(nodules) ผิวใบด้านบนของใบจะมีการโค้งเว้า(concave) ทั้งแนวขวางและแนวยาว ใบที่มีอายุมากจะเอนลงขนาดกับแนวนอนจะเกิดขึ้นเมื่อใบที่อยู่ล่างสุดที่ติดกับผิวหน้าดิน ใบย่อยจะไม่มีหนามที่ขอบใบและใบจะไม่หนา ที่ปลายใบย่อยจะเป็นหนามแหลม

Basal leaflets จะลดรูปจากใบขนาดปกติลงไปเป็นขนาดใบเล็กลงเรื่อยๆหลายๆใบ

Cones จะปรากฏในช่วงเดือนธันวาคม

Male cones เริ่มต้นจะมีน้ำเงินอมสีเขียวแต่หลังจากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีเหลือง  สามารถขึ้นมาได้ถึง 8 cones จะผลิตขึ้นมาต่อฤดูต่อต้น ขนาดทั่วไปของ cones ความยาว  270-500 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 90-120 มิลลิเมตรด้วยมี Peducle ขนาด100-170 มิลลิเมตร pollen shedding จะเกิดขึ้นระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ถึงเมษายนเมื่อเกิด cones แล้ว มันต้องใช้เวลาในการพักเพื่อเก็บพลังแต่กลิ่นมันไม่เป็นที่พึงพอใจ

Female cones จะเริ่มต้นเป็นสีเขียวต่อจากนั้นจะเปลี่ยนเป็นสีเขียวแกมเหลืองในภายหลัง สามารถขึ้นมาได้ถึง 5 Cones จะผลิตขึ้นมาต่อฤดูต่อต้น The cones จะมีความยาว 300-600มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 100-240 มิลลิเมตรด้วย a peducle  มีความยาว 60-120 มิลลิเมตร มันจะถูกบดบังอย่างมิดชิดจาก cataphyllsของยอดลำต้น  Cones ที่เพิ่งตัดมาสดๆจะมีน้ำหนัก 9 กิโลกรัมจะมีประมาณ 140 sporophylls และ the apical sterile sporophylls จะประกอบด้วย 9%ของsporophyllsทั้งหมด  Cones จะไม่สลายตัวในธรรมชาติแต่ว่าปกติจะแห้งไปทีล่ะน้อยระหว่างเดือนมิถุนายนจนถึงกรกฎาคม เมื่อมีประมาณ 230 omnucles แล้วถูกแยกออกโดย sporophylls  แต่ว่าที่เหลือที่ไม่สามารถถูกผสมเป็นจำนวนมากที่อยู่ภายในซึ่งจะถูกตากจนแห้งใน Cone

Seeds

มีสีน้ำตาลอ่อน(khaki)  มีความยาว 41-45 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 30-37 มิลลิเมตร ด้วย sarcotesta ชี้ว่าประมาณ 11%

Seed kernals

จะมีขนาด 36-41 มิลลิเมตร  และเส้นผ่านศูนย์กลาง 24-28 มิลลิเมตร  Seed kernals  มีทั้งสองด้านของความยาวที่เป็นเหลี่ยมและเป็นแนวสันแต่ว่าทั้งหมดนี้ที่อธิบายมาจะเป็นตัวบ่งชี้ว่าคุณภาพเมล็ดจะแย่

encephalartos dyerianus
encephalartos dyerianus

Note

ในการอาศัยอยู่ในธรรมชาติจะเกิดปรากฎการณ์ที่ว่าสายพันธุ์นี้จะทิ้งช่วงสูงเหมือนเสากระโดงเรือ ตามที่ J.C. Oosthuyzen (personal communication) กลุ่มของสายพันธุ์นี้จะไปในรูปแบบเสากระโดงเรือโดยมีระยะเวลาประมาณ 5 ปี แม้จะมีการผลิต Conesออกมาเป็นจำนวนมากระหว่างช่วงหลายปีและแม้แต่ความใกล้ชิดของ Conesของสองเพศ แต่จำนวนน้อยมากที่จะเปลี่ยนจาก Ovules มาเป็น fertilised

สำหรับการสรุปการอธิบายในหลายลักษณะที่ถูกใช้ในการจำแนกของ

Encephalartos dyerianus ,Encephalartos dolomiticus,Encephalartos middleburgensis,Encephalartos eugene-maraisii อ่านได้จากNote ของ Encephalartos dolomiticus

ส่วนข้อแตกต่างระหว่าง Encephalartos Dyerianus กับ Encephalartos Lehmannii

เมื่อหัวเกิน 15 cm. จะเริ่มมีลักษณะใกล้เคียงกันแต่จุดบ่งชี้

  • ขนาดของใบ Encephalartos Dyerianus จะใบใหญ่กว่า
  • Encephalartos Dyerianus ก้านใบจะบิดเป็นเกลียว
  • ผิวใบ Encephalartos dyerianus ไม่มีความขรุขระที่เรียกว่าปุ่มเล็กๆบนใบ
  • รูปแบบใบ Encephalartos dyerianus จะแบนราบ Encephalartos Lehmanniiจะห่อนิดหน่อยเหมือนเรือแต่ปลายแหลม
  • หัว(caudex) Encephalartos Dyerianusจะเป็นสีน้ำตาล แต่หัว Encephalartos Lehmannii จะเป็นสีน้ำตาลแดง
  • สีที่ใบของ Encephalartos Lehmannii จะเป็นสีฟ้าสวย แต่ Encephalartos Dyerianus ฟ้าอมเขียวหรือ Pale bluish-green
  • Encephalartos dyerianus เมื่อหัวมีขนาดใหญ่จะไม่สามารถมองไปทะลุที่ปลายยอดลำต้นได้
© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress