ข้อมูล Encephalartos Friderici-guilielmi

ข้อมูล Encephalartos Friderici-guilielmi (แปลมาจากหนังสือ South Africa)

สายพันธุ์นี้ได้ถูกค้นพบเมื่อปี 1834 โดย J.G.C. Lehmann. โดยตำรา honour of King Friedrich Wilhelm III of Prussia

Habitat(ที่อยู่อาศัย) :

รูปแบบใบสีน้ำเงินแกมเขียว  โดยสายพันธุ์สีนี้จะเกิดบนความลาดเอียงแนวหิน ที่มีหญ้าสั้นๆในตำบล The Catchcart และ Queentown  แต่ถ้าเป็นชนิดที่รูปแบบใบเป็นสีเขียว จะเกิดขึ้นที่ตำบล The Kokstad และ Tsolo และทั้งหมดของบริเวณพื้นที่ The Eastern Cape ในช่วงหน้าร้อนร้อนจัดในช่วงหน้าหนาวหนาวจนเป็นน้ำแข็งและหิมะปกคลุม ฝนตก 375-500 มิลลิเมตรในช่วงหน้าร้อน และมักจะมีไฟป่าเป็นประจำ และต้นที่โตแล้วมักจะไม่มีผลกระทบกับไฟป่า  แต่การฟื้นฟูทำโดยการเพาะต้นกล้าให้แข็งแรงมีอยู่อย่างต่อเนื่องของสายพันธุ์นี้   โดยสายพันธุ์นี้ป่าไม่สามารถช่วยทำให้จำนวนมันกลับมาได้

Cultivation(การเพาะปลูก) :

ปรงของ South Africa สายพันธุ์นี้เป็นสายพันธุ์หนึ่งที่เติบโตช้ามาก ที่จะแตกใบใหม่ออกมา ใช้เวลา 3-5 ปีเลยทีเดียว มันขยายพันธุ์โดยเมล็ดและแยกหน่อ เล็ดที่เก็บมาจากธรรมชาติมีเปอร์เซนต์ในการรอดสูง สามารถทนอากาศหนาวได้ถึงหนาวจัดและจะเติบโตดีในช่วงอากาศในหน้าร้อนเต็มวัน แต่ว่าก็เหมือนกับทุกสายพันธุ์ ต้นกล้าต้องการร่มเงาสำหรับการเริ่มเลี้ยงในช่วงเวลาไม่กี่ปี

Stem(ลำต้น) :

ลำต้นที่ขึ้นไปจะเป็นลำต้นตรง แต่ถ้าลำต้นยาวมากๆอาจจะมีการเอนได้ เมื่อลำต้นยืดขึ้นไปจะไม่การเป็นกิ่งก้านสาขา แต่อาจจะมีหน่อเกิดขึ้นได้ โดยลำต้นที่ขึ้นไปยาวได้ถึง 4 เมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 350-600 มิลลิเมตร ใบจะปกคลุมและยืดขึ้น และปลายยอดจะปกคลุมด้วยขนสีน้ำตาลจำนวนมาก ในบางครั้งขนจะปกคลุม สำหรับด้านล่างลงมาเหนือพื้น 30 cm ลำต้นจะถูกปกคลุมด้วยกลุ่มเล็กๆ

Leaves (ก้านใบย่อยทั้งหมด) :

ผิวหน้าใบมีสีน้ำเงินแกมเขียว    โดยจะมี Wax เคลือบปกคลุมบนผิวใบ แต่ด้านหลังใบจะไม่มี wax ปกคลุมและมีสีซีดกว่า ใบจะมีลักษณะตรง หรือบางครั้งค่อยๆโค้งบิดลง ใบทั้งหมดจะแข็งและจะมีแถบยาว 1-1.5 เมตร

ค่า pp-angle 10°-20°  ที่ปลายก้านใบ แต่จะเพิ่มขึ้นถึง 20°-180° ที่โคนก้านใบไปทาง petiole   สำหรับpp-angle ใบใหม่ที่เป็นคู่จะมีความแตกต่างโดยพิจารณาจากสาเหตุก็คือที่ปลายใบของแต่ล่ะแถวตามแนวยาวของรูปแบบใบจะมีลักษณะกว้าง

pr-angle 30°-60° ผ่านตามความยาวของใบ

s-angle  +10° ถึง +20° องศา  แต่จะมีความผิดปกติที่จะเกิดขึ้นโดยเฉพาะปลายใบจะมีค่า -10° ถึง+90°

สำหรับใบอ่อนจะไม่มีรูปแบบที่แน่นอน ใบย่อยทั้งหมดจะมีการทับซ้อนแบบล่างทับบน

ก้านใบเก่าจะมีการถูกพัดโดยลม ก้านด้านล่างที่อยู่ใต้แหลมบนยอด ใบจะมีลักษณะในแนวนอน  ปลายใบมีแนวโน้มที่จะเป็นสีเหลืองในไม่นาน แล้วค่อยเปลี่ยนไปเป็นสีน้ำตาลในเวลาต่อไปที่ก้านปลายใบ

Petiole : ยาว 150-250 มิลลิเมตร

Medium Leaflets  : ยาว 100-180 มิลลิเมตร ความกว้าง 7-8 มิลลิเมตร ใบลักษณะคล้ายหนัง(leathery)และไม่มีปุ่มที่ผิวใบ ด้านหลังใบจะมีเส้น veins 7-9 เส้นในแนวยาว และสามารถมองเห็นได้ง่าย ขอบใบย่อยทั้งหมดจะไม่มีหนามที่ขอบใบและจะไม่หนา ในทางกลับกันผิวบนใบย่อยจะตรงหรือเว้าบนขอบใบเล็กน้อย  ในระเวลานานๆ จะเกิดใบใหม่ขึ้นมาซึ่งจะมีข้อพิจารณาความแตกต่าง  แต่ว่าการเว้าจะมีความแตกต่างกันในระดับบนผิวใบ  หรือมีการเว้ามายังฐานใบและจะการนูนออกบริเวณปลายใบ ความไม่เป็นระเบียบของใบย่อยแน่นอนว่าหนามแหลมๆที่ปลายใบย่อยเมื่อผ่านเป็นเวลานานในแถบทั้งสองด้านของแต่ล่ะด้านของก้านใบ

Basal Leaflets (ใบย่อยที่ด้านล่างของก้านใบ) : ทั้งหมดนี้จะมีการลดขนาดลงสู่โคนก้านที่ติดกับ Petiole แต่ใบไม่ได้ลดขนาด(not to spines)

Cone ทั้ง Male Cone และ Female Cone จะปรากฎในเดือนมิถุนายน ซึ่งจะปรากฎว่ามีความหนาแน่นสีเหลืองอมขาวปกคลุมเป็นขนที่ปกคลุมผิว

Male Cone : จะเกิดขึ้นมา 3-12 Cones ต่อฤดูต่อต้น มีความยาว 300-400มิลลิเมตร และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 80-100 มิลลิเมตร  The Peducle ยาว 45-50 มิลลิเมตร แต่ก็มักจะมี Cataphylls บนยอดลำต้นมาปิดบังสนิท Cone ที่สดใหม่จะมีน้ำหนัก 1.1-1.3 กิโลกรัม และมี 500-620 sporophylls

Pollen Shedding จะเกิดเดือนสิงหาคม-เดือนพฤษจิกายน

Female Cone :จะเกิดขึ้นมา 3-6 Cones ต่อฤดูต่อต้น มีความยาว 250-390มิลลิเมตร และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 150-200 มิลลิเมตร Cone ที่สดใหม่จะมีน้ำหนัก 4.1-4.4 กิโลกรัม และมี 150-160 sporophylls เมื่อผสมเสร็จจะมีแค่ 8% เท่านั้นจากจำนวนทั้งหมดที่สามารถจะเป็นต้นกล้าได้ต่อไป  โดย Cone จะพร้อมผสมในเดือนธันวาคม-เดือนเมษายน โดยจะมี omnules 105-310

Seeds(เมล็ด) : โดยเมล็ดจะเป็นสีเหลืองจนไปถึงสีส้ม ความยาว 30-35 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 20-24 มิลลิเมตร

Seed kernals : ยาว 27-30 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 18-22 มิลลิเมตร และมีลักษณะที่แคบยาวแต่ไม่มีเหลี่ยม

Note(หมายเหตุ) :

บางสายพันธุ์อาจจะมีลักษณะที่คล้ายกันกับ Encephalartos friderici-guilielmi โดยจะมีสายพันธุ์ Encephalartos cycadifolius, Encephalartos humillis ,Encephalartos laevifolius  และ Encephalartos lanatus

โดยจะมีจุดบ่งชี้ จากบางอย่างและหลายๆอย่างที่มีลักษณะที่แตกต่างกันโดยจะมีพิจารณาจาก

1.Encephalartos cycadifolius เป็นสายพันธุ์ที่มีลำต้นสั้นมีจำนวนหน่อปกคลุมรอบต้นอย่างมากมาย ที่ปลายยอดลำต้นไม่มีขนปกคลุม และเมื่อไม่มี Cone ที่ปลายยอดจะมีก้านใบออกมาโดยใบจะมีการโค้งลง ใบย่อยจะมีลักษณะแคบมาก โดยถ้ามาดูค่ากลางจะพบว่า s-angle ติดลบเป็นทั้งแนวสม่ำเสมอ

2.Encephalartos humillis เป็นสายพันธุ์ขนาดเล็ก ที่ไม่มีขนปกคลุมที่ปลายยอด cataphyllsสั้นและปกคลุมอยู่ทั่วยอดลำต้น ปลายใบจะโค้งแข็งแต่ก็ชี้ลงอย่างงดงามและใบย่อยเรียงตัวกันอย่างสม่ำเสมอ มีค่า s-angleเล็กน้อย

3.Encephalartos laevifolius เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ ลำต้นตั้งตรงขึ้นไปในอากาศ ไม่มีขนปกคลุม แต่ว่ามีการปกคลุมหลายอย่างจาก cataphyllsจะมีปลายแหลม ก้านจะยาว แคบ และหนา เมื่อลำต้นแกใบใหม่ออกมาจะปกคลุมด้วยใบที่ตั้งตรง โดยมีค่า pp-angle และ s-angle ที่เหมือนกัน

4.Encephalartos friderici-guilielmi เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่ ลำต้นยาวขึ้นไปแนวตรง เมื่อใบที่แตกออกมาจากปลายยอดของลำต้นจะปกคลุมด้วยขนจำนวนมาก ใบจะตั้งตรง pp-angle จะน้อยกว่าหรือเท่ากับ 180 องศา pp-angle และ s-angleอาจมีการปรับเปลี่ยนของใบ สามารถพิจารณาความแตกต่างระยะปลายของใบ ใบที่ใกล้เคียงพิจารณาถึงความต่างในการขยายซึ่งจะดูความโค้งในแนวราบ

5.Encephalartos lanatus เป็นสายพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่และปลายยอดมีPetioleและขนปกคลุม ปลายใบจะโค้งแข็งและโค้งลงอย่างงดงาม ความพิเศษของใบย่อยจะเป็นระเบียบมากค่า pp-angle และ s-angle จะคงที่ แล้วในภายหลังจึงเป็น+90 องศา

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress