ข้อมูล Encephalartos msinganus

ข้อมูล Encephalartos msinganus (ได้แปลมาจากหนังสือทาง South Africa)

สายพันธุ์นี้รู้จักในชื่อ “Msinga form” ของ E.natalensis โดย cycad enthusiasts จนกระทั่งมันถูกอธิบายในสายพันธุ์ใหม่ในปีค.ศ. 1996 โดย Piet J.Vorster  ชื่อของสายพันธุ์อ้างถึงพื้นที่ Msinga ของ KwaZulu-Natal ที่ซึ่งสายพันธุ์นี้กำเนิดขึ้น

Habitat : สายพันธุ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่เล็กๆในพื้นที่ the Msinga  ใกล้ Tuhela Ferry ใน central KwaZulu-Natal  โดยสายพันธุ์นี้จะเจริญเติบโตใน Grassveld และ shrub clusters ระหว่างก้อนหินขนาดใหญ่ บนระดับความลาดเอียงของภูเขาและเกาะอยู่บนหินทรายที่ระดับ 900-1200 เมตรเหนือระดับพื้นทะเล การดำรงอยู่ของสายพันธุ์นี้ในธรรมชาติมันอันตรายอย่างมากเพราะว่าสายพันธุ์นี้มีจำนวนไม่ค่อยอุดมสมบูรณ์เพราะเกิดจากเมล็ดที่แตกออกมา ปัญหาคือมนุษย์จะไปเก็บไว้ ทำให้มีจำนวนเกิดขึ้นน้อยจากเมล็ดที่เติบโต เมล็ดที่เกิดในธรรมชาติมาเพาะจะมีเปอร์เซนต์ในการงอกสูงมาก

Cultivation : พืชสายพันธุ์นี้จะมีการเจริญเติบโตเร็วมากและสามารถรับแสงแดดอ่อนๆหรือรับแสงแดดแบบเต็มวันใน South africa ได้สบายเลย สายพันธุ์นี้สามารถทนต่อความหนาวเย็นระดับ frost ได้ และมันสามารถขยายพันธุ์ได้ทางเมล็ดแลัการแตกหน่อ

ลำต้น(Stem) ; เป็นหัวยังไม่ขึ้นมาเป็นลำต้นเรียก Caudex : ลำต้นจะขึ้นไปในอากาศ ไม่มีกิ่งก้านสาขาแต่ว่าจะโค้งงอขึค้นได้เมื่อยาวและจะมีหน่อเกิดขึ้นได้ ลำต้นสามารถยาวได้ถึง 3 เมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 350 มิลลิเมตร ปลายยอดลำต้นจะถูกปกคลุมด้วย Cataphylls ด้วยขนสีน้ำตาลที่ภายนอก

ก้านใบรวมทั้งหมด (Leaves) : จะมีสีเขียวเข้มมันเงาที่บนหน้าใบและใบบางและสีที่หลังใบจะเป็นสีเขียวที่อ่อนกว่าซึ่งจะเห็นเส้น vein ในแนวยาวได้ชัดเจน ก้านใบรวมทั้งหมดจะแข็งและตั้งตรงหรือมีการโค้งงอเล็กน้อย โดยก้านใบจะมีความยาว 1.1-1.5 เมตร

ค่า pp-angle ประมาณ 90° ในส่วนปลายใบ แต่ว่าจะเพิ่มขึ้นไปได้ถึง 125°-180° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

ค่า pr-angle ประมาณ 20°-30° ที่ปลายใบ แต่ว่าจะเพิ่มขึ้นไปได้ถึง  60°-90° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole

ค่า s-angle ประมาณ 0° ถึง +10° ที่ปลายใบ แต่ว่าจะเปลี่ยนแปลงเป็น  -30° ถึง -40° ในส่วนถัดมาของใบไปในทิศใบล่างที่ลงสู่โคนก้านใบไปทาง petiole หรือว่าบางครั้งอาจจะมีค่า -45° ก็เป็นไปได้

ใบย่อยจะไม่มีการทับซ้อนจากใบใดใบหนึ่งหรือว่าจะมีการทับซ้อนแบบล่างทับบนในส่วนที่ปลายก้านใบมีการทับซ้อนเล็กน้อยและมีการทับซ้อนแบบบนทับล่างในส่วนกลางก้านใบลงไป

Petiole : มีความยาว 20-100 มิลลิเมตร

Median leaflets(ใบย่อยที่อยุ่ช่วงกลาง) : มีความยาว 140-170 มิลลิเมตร ความกว้าง 16-20 มิลลิเมตร ใบหนา ใบแข็งและส่วนเรื่องปุ่มจะไม่ค่อยมี ขอบใบย่อยไม่มีหนามหรือถ้ามีก็มีแบบ teeth บนขอบใบทั้ง 2 ด้าน ขอบใบย่อยการโค้งจะมีการโค้งลง(recurved) บนผิวหน้าใบที่ผิวหน้าใบของใบย่อยจะโค้งเว้าเป็นรูปตัว U ในแนวขวาง และมีการโค้งนูนแบบสะพานในแนวยาว ปลายใบย่อยจะแหลม

Basal leaflets(ใบย่อยส่วนล่าง) : จะลดขนาดลงลงไปสู่ด้านล่างเหลือใบน้อยมากหรือบางทีลดรูปจนเหลือใบแบบ spines

Cones : จะปรากฏในเดือนธันวาคม

Male cones : สามารถขึ้นได้ถึง 4 Conesต่อฤดูกาลต่อลำต้น มีลักษณะเป็นสีเหลือง ไม่มีขน มีความยาว 300-400 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 110-120 มิลลิเมตร และมีความยาว peducle ได้มากถึง 70 มิลลิเมตร  Pollen shedding จะเกิดขึ้นในเดือนมีนาคม-เมษายน

Female cones : สามารถผลิตได้ถึง 2 Cones ต่อฤดูกาลต่อต้นและจะปรากฎว่าก้าน Cones ระยะมีน้อยมากเพราะว่า Peduncles จะสังเกตุเห็นว่าจะมี cataphylls ของยอดลำต้นอยู่ ที่ Cones จะมีความรู้สึกว่าขนที่ปกคลุมอยู่ภายนอกซึ่งมีสีออกไปทางน้ำตาล โดยทีแรกเริ่มต้นเป็นสีเหลืองอมเขียว และถัดมามีสีเหลืองสว่าง เป็นพื้นฐานของสี Cones  ความยาวของ Cones จะยาวได้ถึง 420 มิลลิเมตร และ  เส้นผ่านศูนย์กลาง 220  มิลลิเมตร  ภายใต้ขนที่มีอยู่ภายนอก ที่ผิวทั้งหมดของ Bullae จะปกคลุมด้วยปุ่มนูนเล็กๆ ที่ว่านี่เป็นความพิเศษระหว่างระยะของด้านมุมมอง the Conesจะถูกผสมด้วย spontaneously เพื่อกลายเป็น riping

Seeds :  Bright red

Seed Kernels :  ไม่เคยเห็นด้วยตาของผู้เขียน แต่ว่ามีการบอกกล่าวว่าทั้งหมดนี้จะคล้ายคลึงกับสายพันธุ์ Enephalartos natalensis

Note : the cone จะแตกต่างเมื่อการพิจารณาจากสายพันธุ์นี้กับสายพันธุ์อื่น เช่น Encephalartos aemulans , Encephalartos lebomboensis บาง forms ของ Encephalartos natalensis และ Encephalartos senticosus สำหรับสรุปของการบ่งชี้ในลักษณะของสายพันธุ์ที่ว่านี้นั้นไปดูได้จาก Encephalartos aemulans

 

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress