ข้อมูล Encephalartos senticosus

สายพันธุ์นี้ได้ถูกแยกมาจาก Encephalartos lebomboensis โดย piet J. Vorster ในปี ค.ศ.1996 ชื่อสายพันธุ์นี้ มีความหมายคือ “spiny”(หนาม) และได้กล่าวถึงใบย่อยของสายพันธุ์นี้

Description

การอยู่อาศัย(Habitat)

สายพันธุ์นี้เกิดขึ้นกระจัดกระจายบนช่วงยอดเขา Lebombo จากทางใต้ของ Jozini Dam ใน KwaZulu-Natal ขึ้นไปทางหลายกิโลเมตรทางเหนือของ Siteki ใน Swaziland ส่วนใหญ่เติบโตบนความลาดชันที่ไม่มาก เกิดระหว่างก้อนหินและอยู่กันเป็นกลุ่มๆเล็กๆ แต่บางครั้งก็เกาะติดอยู่บนหน้าผาเป็นที่ๆเกิดมากมาย หรือสัมผัสแสงแดดน้อยลงอย่างน้อยบางส่วนของวัน ความสูงอยู่ที่ 400-800 เมตร เหนือระดับน้ำทะเล ในจำนวนมากทางธรรมชาติมีการพัดพาไปทั่ว แต่อย่างไรก็ตามสายพันธุ์นี้ไม่ถือว่าใกล้สูญพันธุ์มาก

(Cultivation)

สายพันธุ์นี้เติบโตค่อนข้างรวดเร็วและสามารถทนต่อสภาวะความเย็นแบบน้ำแข็งได้ ต้นกล้าจะต้องสังเกตุมากๆเกี่ยวกับรูปแบบความแหลมคมที่ใบและพอเวลาผ่านไปเป็นเวลานานๆจะมีลักษณะที่มีความสัมพันธุ์กับสายพันธุ์ Encephalartos lebomboensis(Mananga form) เมื่อ Coneเพศผู้ไม่ได้ยาวเรียวมากก่อน Pollen Shedding และผลผลิตที่สัมพันธ์กับ Pollenขนาดเล็ก ซึ่งเกาะติดกันเป็นลูกกลมเพื่อที่พยายามจะร่อนมัน

ลำต้น(Stem)

ลำต้นขึ้นไปแบบในอากาศแบบไม่มีกิ่งก้านสาขาขึ้นไปแบบตรงๆแต่บางครั้งอาจจะมีการเองบ้างและมักจะมี Sucker เกิดขึ้น ลำต้นสามารถเติบโตสามารถสูงได้ถึง 4 เมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 300 มิลลิเมตร ที่ยอดบนสุดของลำต้นจะมีขนบางๆ(slightly woolly)

pp-angle.pr-angle,s-angle

ก้านใบ(Leaves) ที่หน้าใบจะออกสีเขียวเข้มมัมวาว(Glossy dark green) และมีด้านหหลังใบสีเขียวที่อ่อนกว่า (Slightly lighter green) ก้านใบอาจจะตรงหรือมีการโค้งลงได้ แต่ก้านใบจะแข็ง มีความยาว 1.1-1.8 เมตร และ

มี PP-angle ที่ปลายยอด 60o-120o และจะมีการเพิ่มองศาเป็น 180o-200oที่ใบด้านล่าง

มี PR-angle ที่ปลายยอด 20o-30o และจะมีการเพิ่มองศาเป็น 70o-80oที่ใบด้านล่าง

มี S-angle ที่ปลายยอด 0o-10o และมีการเปลี่ยนแปลงประมาณ -30o สำหรับในส่วนที่เหลือของใบด้านล่าง

ก้านใบจะมีสีเหลืองและใบย่อย ใบย่อยจะมีการซ้อนกันที่ปลายก้านใบ แต่ว่าจะมีการซ้อนกันเบาบางในส่วนของโซนกลางก้าน

Petiole : มีความยาว 50-200 mm.

ใบย่อยในส่วนกลางก้าน(Median leaflets) : มีความยาว 80-180 mm และมีความกว้าง 14-27 mm. ใบเป็นแบบคล้ายหนัง(leathery และปราศจากปุ่มที่หน้าใบ ขอบทั้งสองข้างจะมีฟันที่เรียกกันว่า Pungent teeth บางครั้งอาจเป็นไปได้ทั้งหมด ขอบใบมักจะโค้งงอเล็กน้อย แทนที่จะหนาขึ้น บนหน้าใบ ใบย่อยมีความโค้งเว้าคล้ายท้องเรือที่แข็งแกร่งในทางขวาง และมีการนูนในทางยาวของใบย่อย ที่ปลายใบย่อยจะมีหนามที่แแหลม

Basal leaflets : ใบย่อยทั้งหมดจะลดขนาดจนไปถึงฐานล่าง โดยจะลดเป็น Series แบบ Spines ซึ่งเกือบทั้งหมดไปถึงฐานใบล่างสุด

Cones : มักจะเกิดขึ้นในเดือนธันวาคม

Male Cones: สามารถมากถึง 4 Cones โดยจะมีสีส้มถึงสีส้มอมเหลือง สามารถเกิดได้ใน 1 ฤดูต่อต้น จะมีความยาว 300-630 มิลลิเมตร เส้นผ่านศูนย์กลาง 95-130 มิลลิเมตร และมีก้านดอกยาว 50-100 มิลลิเมตร Coneมีน้ำหนักสดหลังตัด 1.1-2.6 กิโลกรัม และ 290-520 เต็มไปด้วย sporophylls ซึ่งติดกับโคนฐาน โดย Pollen shedding ระหว่าง เดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม

Female Cones: เริ่มต้นโดยทั้งหมดจะมีสีน้ำตาลเข้มมีขนภายนอกซึ่งจะปรากฎขึ้น หลังจากนั้นพอ female Cone โตขึ้นเต้มที่ จะมีสี light apricot-yellow และโตขึ้นได้ถึง 3 Cones ถูกผลิตต่อฤดูกาลต่อต้น Female Cones มีขนาดความยาว 400-540 มิลลิเมตร และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 200-250 มิลลิเมตร และมี Peducle คววามยาว 35-60 มิลลิเมตร แต่ทั้งหมดอาจจะคลุมเครือโดย Cataphyllsของยอดสุดของต้นไม้ Female Conesสดจะมีน้ำหนัก 10-16 กิโลกรัมแต่ล่ะ Cone และ 210-320 Sporophylls โดย Female Cones โดยจะแตกขึ้นมาเป็น Spontaneously ระหว่าง กันยายนถึงตุลาคม แต่ล่ะ Coneจะมี 280-590 Omnucles

Seeds: สีแดงสว่าง(Bright red) ความยาวเมล็ด 47-51 มิลลิเมตร และเส้นผ่านศูนย์กลาง 26-28 มิลลิเมตร the sarcotesta index จะมีค่า 40%-46% และthe sarcotesta กลับมาเป้น mucilaginous จนสุก(ripening)

Seed Kernels: มีความยาว 27-33 มิลลิเมตร และ เส้นผ่านศูนย์กลาง 17-21มิลลิเมตร และมีเกี่ยวกับ 10 fairly prominent longitudinal ridges

Note: การไม่มีหรือไม่เห็น Conesของปรงในการจำแนก, Encephalartos aemulans, Encephalartos lebomboensis, Encephalartos msinganus, บางฟอร์มของ Encephalartos natalensis และ Encephalartos senticosus อาจจะมีการสับสนได้สำหรับสรุปของลักษณะทั้งหมดของสายพันธุ์ทั้งหมดสามารถดูได้ใน Encephalartos aemulans

© 2000:Mr.Prince Farm, All Rights Reserved | Awesome Theme by: D5 Creation | Powered by: WordPress